Samsen 2562

                                                           ภาคเรียนที่ 2 ปีการศีกษา 2562

(พฤศจิกายน 2562 – กุมภาพันธ์ 2563)

วัน:           ทุกวันพุธ (ยกเว้นวันหยุด และวันที่โรงเรียนกำหนดให้หยุดการเรียนการสอน)

เวลา:       15:50 – 17:30

ผู้สอน:     อ. ธนะชัย​ ธรรมธวัชวร

อีเมล:   thanachai@scitech.au.edu

วัตถุประสงค์ของรายวิชา

เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้ภาษา Python สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล การแสดงผลข้อมูลในรูปแบบตาราง กราฟรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้ Pandas Library ซึ่งเป็น Library ที่เป็นนิยมในการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) รวมถึงการพัฒนาโปรแกรม Chat Bot

สัปดาห์ที่ 1 (20 พ.ย. 2562) รู้จักกับ Pandas การโหลดข้อมูล การแสดงผลเบื้องต้น (SamsenDA_worksheet1_Intro2Pandas) ชุดข้อมูลที่ต้องใช้ (pandas_tutorial_read)

สัปดาห์ที่ 2 (27 พ.ย. 2562) การแสดงข้อมูลแบบจัดกลุ่ม การรวมข้อมูลจากหลายชุดข้อมูล (SamsenDA_worksheet2_Grouping) ชุดข้อมูลที่ต้องใช้ (zoo)(zoo_eats)

สัปดาห์ที่ 3 (4 ธ.ค. 2562) การเรียงลำดับข้อมูล การทำเตรียมความพร้อมข้อมูล  เบื้องต้น (SamsenDA_worksheet3_Sorting) + (pandas_tutorial_buy)

สัปดาห์ที่ 4 (11 ธ.ค. 2562) ทดสอบการใช้ Pandas สำหรับการจัดการข้อมูล (car)(car_country)(phone)(phone_country)(car2)(car_country2)

———————- สอบกลางภาค 16 – 19 ธ.ค. 2562 ————————–

สัปดาห์ที่ 5 (25 ธ.ค. 2562)  การ Plot ข้อมูล (1) (SamsenDA_worksheet4_Plotting1)

สัปดาห์ที่ 6 (8 ม.ค. 2663) การ Plot ข้อมูล (2) +  การ Plot บนแผนที่ (SamsenDA_worksheet5_Plotting2)(scottish_hills)(NGSA_Field_pH)

สัปดาห์ที่ 7 (15 ม.ค. 2563) การ Plot ข้อมูล (3) (SamsenDA_worksheet6_Plotting3)(Province)(ProvinceTax)    (Province2)(ProvinceType)

สัปดาห์ที่ 8 (22 ม.ค. 2563) การเขียน Chat Bot (1) (Readme)(MyBot)(thai)

สัปดาห์ที่ 9 (29 ม.ค. 2563) การเขียน Chat Bot (2)

สัปดาห์ที่ 10 (5 ก.พ. 2563) การนำเสนอโครงงาน

 


ภาคเรียนที่ 1

 

วัตถุประสงค์ของรายวิชา

เพื่อให้นักเรียนเข้าใจในหลักการเขียนโปรแกรม ประเภทของตัวแปร การนำข้อมูลเข้า การแสดงผล การใช้งาน if-the-else, for-loop, while-loop ในโปรแกรม การเขียนฟังก์ชัน การสร้าง library และการประยุกต์ใช้ Package สำหรับ Python เช่น การเขียนเกมส์ด้วย Pygame


คะแนน:  (หมายเหตุ การทดสอบสำหรับกลางภาค และปลายภาคเรียน อาจรวมถึง การสอบปฏิบัติ การสอบข้อเขียน การทำโครงงาน)

คะแนนเก็บก่อนกลางภาค:         20 คะแนน 

คะนนกลางภาค:   20 คะแนน   

คะแนนเก็บก่อนปลายภาค: 20 คะแนน

คะนนปลายภาค:  40 คะแนน  (โครงงาน) 


ภาคเรียนที่ 1

เนื้อหาอาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม

สัปดาห์ที่ 1 (15 พ.ค. 2562):  ทำความรู้จัก Jupyter notebook ภาษา Python ประเภทตัวแปร input/output เบื้องต้น (Samsen_worksheet_1_2019)

สัปดาห์ที่ 2 (22 พ.ค. 2562):  ประเภทตัวแปร input/output เบื้องต้น การใช้ if-else เบื้องต้น (Samsen_worksheet_2_2019)

สัปดาห์ที่ 3 (29 พ.ค. 2562): แบบฝึกหัดเพิ่มเติมสำหรับ if-else (แบบฝึกหัดเพิ่มเติมสำหรับ if_else 2019)

สัปดาห์ที่ 4 (5 มิ.ย. 2562): === งดการเรียนการสอน นักเรียนไปเข้าค่ายคุณธรรม ====

สัปดาห์ที่ 5 (12 มิ.ย. 2562):  Quiz 1 + loop และ nested loop (Samsen_worksheet_3_2019)

สัปดาห์ที่ 6 (19 มิ.ย. 2562): nested if-else and nested loop (Samsen_worksheet_4_2019)

สัปดาห์ที่ 7 (26 มิ.ย. 2562 ) การ Trace Code และ Module เบื้องต้น (Samsen_worksheet_5_2019) + (ตัวอย่างข้อสอบกลางภาค2019)


สอบกลางภาค (1 – 5 ก.ค. 2562)


สัปดาห์ที่ 8 (10 ก.ค. 2562):    สอบปฏิบัติ 

สัปดาห์ที่ 9 (17 ก.ค. 2562):   วันหยุดชดเชย

สัปดาห์ที่ 10 (24 ก.ค. 2562): งดการเรียนการสอน (ผู้สอนไม่สบาย) 

สัปดาห์ที่ 11 (31 ก.ค.  2562):    การเขียนฟังก์ชันใน Python   (Samsen_worksheet_6_2019)

สัปดาห์ที่ 12 (7 ส.ค. 2562):  หลักการเขียนฟังก์ชัน (เพิ่มเติม) (Samsen_worksheet_7_2019)

สัปดาห์ที่ 13 (14 ส.ค. 2562):   Quiz 2 +   การควบคุม objects ใน Pygame (PyGameV1) + การตรวจจับการชนกันของ objects ในเกมส์  (การเคลื่อนที่ของวัตถุใน Pygame และ การตรวจจับการชนกันของวัตถุ+ (PyGameV2_key)

สัปดาห์ที่ 14 (21 ส.ค. 2562):   การแสดงข้อความใน PyGame การนับคะแนน และการเพิ่ม Level  (การแสดงข้อความใน PyGame และการนับคะแนน) + (PyGameV3_key.ipynb)

สัปดาห์ที่ 15 (28 ส.ค. 2562):    การจัดการเรื่องปุ่มแบบ interactive + การจัดการเรื่องเสียงในเกมส์ (การสร้างปุ่มแบบInteractiveและเรื่องเสียง) + (sound_wave) + (PyGameFinal_key.ipynb)

สัปดาห์ที่ 16 (4 ก.ย. 2562): Quiz 3 นำเสนอโครงงาน 


สอบปลายภาคเรียนที่ 1


Archives

ปีการศึกษา 2018